ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

 สาขาวิชาภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 

 

 

     นักศึกษาที่เรียนสาขานี้จะได้ศึกษาภาษาไทยที่ใช้ในการสื่อสารงานธุรกิจ งานสื่อสารมวลชน รวมถึงลีลาการใช้ภาษาไทยในแง่มุมต่างๆ ทำให้มีความเชี่ยวชาญในการใช้ภาษาไทยเป็นอย่างดี สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในโอกาสต่างๆ ได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพต่อไป

     ด้านการใช้ภาษา นักศึกษาจะได้ฝึกฝนทักษะทางภาษาให้มีประสิทธิภาพ ทั้งการฟัง การพูด การอ่าน และการเขียน อีกทั้งยังศึกษาการใช้ภาษาในแง่มุมต่างๆ อย่างลึกซึ้ง อาทิ การใช้ภาษาไทยในสื่อมวลชน การเขียนทางวารสารศาสตร์ การเขียนบทความและสารคดี การเขียนเพื่อการประชาสัมพันธ์ การเขียนเพื่อธุรกิจ ส่วนด้านวรรณกรรม นักศึกษาจะได้เรียนวรรณกรรมไทยสมัยต่างๆ ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน การศึกษาทั้งสองด้านนี้จะเป็นพื้นฐานสำหรับการประกอบอาชีพ และศึกษาทางด้านภาษาในระดับปริญญาโทและปริญญาเอกต่อไป

     นอกจากนี้ นักศึกษายังสามารถเลือกเรียนวิชาโทซึ่งจะช่วยเสริมให้เป็นผู้ที่มีความรอบรู้กว้างขวางยิ่งขึ้น ได้แก่ การท่องเที่ยวและการโรงแรม การบริหารธุรกิจ เทคโนโลยีสารสนเทศ และวิทยาศาสตร์การกีฬา 

    

หลักภาษา

ภาษาไทย เป็นภาษาทางการของประเทศไทย และภาษาแม่ของชาวไทย และชนเชื้อสายอื่นในประเทศไทย ภาษาไทยเป็นภาษาในกลุ่มภาษาไต ซึ่งเป็นกลุ่มย่อยของตระกูลภาษาไท-กะได สันนิษฐานว่า ภาษาในตระกูลนี้มีถิ่นกำเนิดจากทางตอนใต้ของประเทศจีน และนักภาษาศาสตร์บางท่านเสนอว่า ภาษาไทยน่าจะมีความเชื่อมโยงกับ ตระกูลภาษาออสโตร-เอเชียติก ตระกูลภาษาออสโตรนีเซียน ตระกูลภาษาจีน-ทิเบต ภาษาไทยเป็นภาษาที่มีระดับเสียงของคำแน่นอนหรือวรรณยุกต์เช่นเดียวกับภาษาจีน และออกเสียงแยกคำต่อคำ เป็นที่ลำบากของชาวต่างชาติเนื่องจาก การออกเสียงวรรณยุกต์ที่เป็นเอกลักษณ์ของแต่ละคำ และการสะกดคำที่ซับซ้อน นอกจากภาษากลางแล้ว ในประเทศไทยมีการใช้ ภาษาไทยถิ่นอื่นด้วย เนื้อหา [ซ่อน] 1 ชื่อภาษาและที่มา 2 ระบบเสียง 2.1 พยัญชนะ 2.2 สระ 2.3 วรรณยุกต์ 3 ไวยากรณ์ 4 การยืมคำจากภาษาอื่น 4.1 คำที่ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤต 5 อ้างอิง 6 แหล่งข้อมูลอื่น [แก้] ชื่อภาษาและที่มาคำว่า ไทย หมายความว่า อิสรภาพ เสรีภาพ หรืออีกความหมายหนึ่งคือ ใหญ่ ยิ่งใหญ่ เพราะการจะเป็นอิสระได้จะต้องมีกำลังที่มากกว่า แข็งแกร่งกว่า เพื่อป้องกันการรุกรานจากข้าศึก แม้คำนี้จะมีรูปเหมือนคำยืมจากภาษาบาลีสันสกฤต แต่แท้ที่จริงแล้ว คำนี้เป็นคำไทยแท้ที่เกิดจากกระบวนการสร้างคำที่เรียกว่า ‘การลากคำเข้าวัด’ ซึ่งเป็นการลากความวิธีหนึ่ง ตามหลักคติชนวิทยา คนไทยเป็นชนชาติที่นับถือกันว่า ภาษาบาลีซึ่งเป็นภาษาที่บันทึกพระธรรมคำสอนของพระพุทธเจ้าเป็นภาษาอันศักดิ์สิทธิ์และเป็นมงคล เมื่อคนไทยต้องการตั้งชื่อประเทศว่า ไท ซึ่งเป็นคำไทยแท้ จึงเติมตัว ย เข้าไปข้างท้าย เพื่อให้มีลักษณะคล้ายคำในภาษาบาลีสันสกฤตเพื่อความเป็นมงคลตามความเชื่อของตน ภาษาไทยจึงหมายถึงภาษาของชนชาติไทยผู้เป็นไทนั่นเอง [แก้] ระบบเสียงระบบเสียงในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ส่วนคือ 1.เสียงพยัญชนะ 2.เสียงสระ 3.เสียงวรรณยุกต์ [แก้] พยัญชนะเสียงสัทอักษรพยัญชนะในภาษาไทย (เสียงแปร) มีอยู่ด้วยกัน 21 เสียงดังต่อไปนี้ ริมฝีปาก ทั้งสอง ริมฝีปากล่าง -ฟันบน ปุ่มเหงือก หลังปุ่มเหงือก เพดานแข็ง เพดานอ่อน ผนังคอ เสียงกัก /p/ ป /pʰ/ ผ,พ /b/ บ /t/ ฏ,ต /tʰ/ ฐ,ฑ*,ฒ,ถ,ท,ธ /d/ ฎ,ฑ*,ด /k/ ก /kʰ/ ข,ฃ,ค,ฅ,ฆ /ʔ/ อ** เสียงนาสิก /m/ ม /n/ ณ,น /ŋ/ ง เสียงเสียดแทรก /f/ ฝ,ฟ /s/ ซ,ศ,ษ,ส /h/ ห,ฮ เสียงผสมเสียดแทรก /t͡ɕ/ จ /t͡ɕʰ/ ฉ,ช,ฌ เสียงรัวลิ้น /r/ ร เสียงเปิด /j/ ญ,ย /w/ ว เสียงข้างลิ้น /l/ ล,ฬ * ฑ สามารถออกเสียงได้ทั้ง /tʰ/ และ /d/ ขึ้นอยู่กับคำศัพท์ ** เสียง /ʔ/ มีปรากฏอยู่ในคำที่มีสระเสียงสั้นและไม่มีพยัญชนะสะกด [แก้] สระเสียงสระในภาษาไทยแบ่งออกเป็น 3 ชนิดคือ สระเดี่ยว สระประสม และสระเกิน สะกดด้วยรูปสระพื้นฐานหนึ่งตัวหรือหลายตัวร่วมกัน (ดูที่ อักษรไทย) สระเดี่ยว หรือ สระแท้ คือสระที่เกิดจากฐานเพียงฐานเดียว มีทั้งสิ้น 18 เสียง ลิ้นส่วนหน้า ลิ้นส่วนหลัง ปากเหยียด ปากเหยียด ปากห่อ สั้น ยาว สั้น ยาว สั้น ยาว ลิ้นยกสูง /i/ –ิ /iː/ –ี /ɯ/ –ึ /ɯː/ –ื /u/ –ุ /uː/ –ู ลิ้นกึ่งสูง /e/ เ–ะ /eː/ เ– /ɤ/ เ–อะ /ɤː/ เ–อ /o/ โ–ะ /oː/ โ– ลิ้นกึ่งต่ำ /ɛ/ แ–ะ /ɛː/ แ– /ɔ/ เ–าะ /ɔː/ –อ ลิ้นลดต่ำ /a/ –ะ /aː/ –า สระเดี่ยว สระประสม สระประสม คือสระที่เกิดจากสระเดี่ยวสองเสียงมาประสมกัน เกิดการเลื่อนของลิ้นในระดับสูงลดลงสู่ระดับต่ำ ดังนั้นจึงสามารถเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า “สระเลื่อน” มี 3 เสียงดังนี้ เ–ีย /iaː/ ประสมจากสระ อี และ อา เ–ือ /ɯaː/ ประสมจากสระ อือ และ อา –ัว /uaː/ ประสมจากสระ อู และ อา ในบางตำราจะเพิ่มสระสระประสมเสียงสั้น คือ เ–ียะ เ–ือะ –ัวะ ด้วย แต่ในปัจจุบันสระเหล่านี้ปรากฏเฉพาะคำเลียนเสียงเท่านั้น เช่น เพียะ เปรี๊ยะ ผัวะ เป็นต้น สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระเกิน ไม่มีตัวสะกด มีตัวสะกด ไม่มีตัวสะกด มีตัวสะกด ไม่มีตัวสะกด มีตัวสะกด –ะ –ั–¹ –า –า– –ำ (ไม่มี) –ิ –ิ– –ี –ี– ใ– (ไม่มี) –ึ –ึ– –ือ –ื– ไ– ไ––⁵ –ุ –ุ– –ู –ู– เ–า (ไม่มี) เ–ะ เ–็– เ– เ–– ฤ, –ฤ ฤ–, –ฤ– แ–ะ แ–็– แ– แ–– ฤๅ (ไม่มี) โ–ะ –– โ– โ–– ฦ, –ฦ ฦ–, –ฦ– เ–าะ –็อ– –อ –อ–² ฦๅ (ไม่มี) –ัวะ (ไม่มี) –ัว –ว– เ–ียะ (ไม่มี) เ–ีย เ–ีย– เ–ือะ (ไม่มี) เ–ือ เ–ือ– เ–อะ (ไม่มี) เ–อ เ–ิ–³, เ–อ–⁴ สระเกิน คือสระที่มีเสียงของพยัญชนะปนอยู่ มี 8 เสียงดังนี้ –ำ /am, aːm/ ประสมจาก อะ + ม (อัม) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาม) ใ– /aj, aːj/ ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) ไ– /aj, aːj/ ประสมจาก อะ + ย (อัย) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาย) เ–า /aw, aːw/ ประสมจาก อะ + ว (เอา) บางครั้งออกเสียงยาวเวลาพูด (อาว) ฤ /rɯ/ ประสมจาก ร + อึ (รึ) บางครั้งเปลี่ยนเป็น /ri/ (ริ) หรือ /rɤː/ (เรอ) ฤๅ /rɯː/ ประสมจาก ร + อือ (รือ) ฦ /lɯ/ ประสมจาก ล + อึ (ลึ) ฦๅ /lɯː/ ประสมจาก ล + อือ (ลือ) บางตำราก็ว่าสระเกินเป็นพยางค์ ไม่ถูกจัดว่าเป็นสระ สระบางรูปเมื่อมีพยัญชนะสะกด จะมีการเปลี่ยนแปลงรูปสระ สามารถสรุปได้ตามตารางด้านขวา ¹ คำที่สะกดด้วย –ะ + ว นั้นไม่มี เพราะซ้ำกับ –ัว แต่เปลี่ยนไปใช้ เ–า แทน ² คำที่สะกดด้วย –อ + ร จะลดรูปเป็น –ร ไม่มีตัวออ เช่น พร ศร จร ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ โ–ะ ดังนั้นคำที่สะกดด้วย โ–ะ + ร จึงไม่มี ³ คำที่สะกดด้วย เ–อ + ย จะลดรูปเป็น เ–ย ไม่มีพินทุ์อิ เช่น เคย เนย เลย ซึ่งก็จะไปซ้ำกับสระ เ– ดังนั้นคำที่สะกดด้วย เ– + ย จึงไม่มี ⁴ พบได้น้อยคำเท่านั้นเช่น เทอญ เทอม ⁵ มีพยัญชนะสะกดเป็น ย เท่านั้น เช่น ไทย ไชย [แก้] วรรณยุกต์เสียงวรรณยุกต์ ในภาษาไทย (เสียงดนตรีหรือเสียงผัน) จำแนกออกได้เป็น 5 เสียง ได้แก่ เสียงสามัญ (ระดับเสียงกลาง) เสียงเอก (ระดับเสียงต่ำ) เสียงโท (ระดับเสียงสูง-ต่ำ) เสียงตรี (ระดับเสียงกลาง-สูง หรือ ระดับเสียงสูงอย่างเดียว) เสียงจัตวา (ระดับเสียงต่ำ-กึ่งสูง) ส่วน รูปวรรณยุกต์ มี 4 รูป ได้แก่ ไม้เอก ( -่ ) ไม้โท ( -้ ) ไม้ตรี ( -๊ ) ไม้จัตวา ( -๋ ) ทั้งนี้คำที่มีรูปวรรณยุกต์เดียวกัน ไม่จำเป็นต้องมีระดับเสียงวรรณยุกต์เดียวกัน ขึ้นอยู่กับระดับเสียงของอักษรนำด้วย เช่น ข้า (ไม้โท) ออกเสียงโทเหมือน ค่า (ไม้เอก) เป็นต้น [แก้] ไวยากรณ์ภาษาไทยเป็นภาษาคำโดด คำในภาษาไทยจะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูปไม่ว่าจะอยู่ในกาล (tense) การก (case) มาลา (mood) หรือวาจก (voice) ใดก็ตาม คำในภาษาไทยไม่มีลิงก์ (gender) ไม่มีพจน์ (number) ไม่มีวิภัตติปัจจัย แม้คำที่รับมาจากภาษาผันคำ (ภาษาที่มีวิภัตติปัจจัย) เป็นต้นว่าภาษาบาลีสันสกฤต เมื่อนำมาใช้ในภาษาไทย ก็จะไม่มีการเปลี่ยนแปลงรูป คำในภาษาไทยหลายคำไม่สามารถกำหนดหน้าที่ของคำตายตัวลงไปได้ ต้องอาศัยบริบทเข้าช่วยในการพิจารณา เมื่อต้องการจะผูกประโยค ก็นำเอาคำแต่ละคำมาเรียงติดต่อกันเข้า ภาษาไทยมีโครงสร้างแตกกิ่งไปทางขวา คำคุณศัพท์จะวางไว้หลังคำนาม ลักษณะทางวากยสัมพันธ์โดยรวมแล้วจะเป็นแบบ ‘ประธาน-กริยา-กรรม’ [แก้] การยืมคำจากภาษาอื่นภาษาไทยเป็นภาษาหนึ่งที่มีการยืมคำมาจากภาษาอื่นๆค่อนข้างสูงมาก มีทั้งแบบยืมมาจากภาษาในตระกูลภาษาไท-กะได ด้วยกันเอง และข้ามตระกูลภาษา โดยส่วนมากจะยืมมาจากภาษาบาลี ภาษาสันสกฤต และภาษาเขมร ซึ่งมีทั้งรักษาคำเดิม ออกเสียงใหม่ สะกดใหม่ หรือเปลี่ยนความหมายใหม่ อย่างใดอย่างหนึ่งหรือหลายอย่างรวมกัน บางครั้งเป็นการยืมมาซ้อนคำ เกิดเป็นคำซ้อน คือ คำย่อยในคำหลัก มีความหมายเดียวกันทั้งสอง เช่น ดั้งจมูก โดยมีคำว่าดั้ง เป็นคำในภาษาไต ส่วนจมูก เป็นคำในภาษาเขมร อิทธิฤทธิ์ มาจาก อิทธิ (iddhi) ในภาษาบาลี ซ้อนกับคำว่า ฤทธิ (ṛddhi) ในภาษาสันสกฤต โดยทั้งสองคำมีความหมายเดียวกัน [แก้] คำที่ยืมมาจากภาษาบาลี-สันสกฤตคำจำนวนมากในภาษาไทย ไม่ใช้คำในกลุ่มภาษาไต แต่เป็นคำที่ยืมมาจากกลุ่มภาษาสันสกฤต-ปรากฤต โดยมีตัวอย่างดังนี้ รักษารูปเดิม หรือเปลี่ยนแปลงเล็กน้อย วชิระ (บาลี:วชิระ [vajira]), วัชระ (สันส:วัชร [vajra]) ศัพท์ (สันส:ศัพทะ [śabda]), สัท (เช่น สัทอักษร) (บาลี:สัททะ [sadda]) อัคนี และ อัคคี (สันส:อัคนิ [agni] บาลี:อัคคิ [aggi]) โลก (โลก) – (บาลี-สันส:โลกะ [loka]) ญาติ (ยาด) – (บาลี:ญาติ (ยา-ติ) [ñāti]) เสียง พ มักแผลงมาจาก ว เพียร (มาจาก พิริยะ และมาจาก วิริยะ อีกทีหนึ่ง) (สันส:วีรยะ [vīrya], บาลี:วิริยะ [viriya]) พฤกษา (สันส:วฤกษะ [vṛkṣa]) พัสดุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ)) เสียง -อระ เปลี่ยนมาจาก -ะระ หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ)) เสียง ด มักแผลงมาจาก ต หรดี (หอ-ระ-ดี) (บาลี:หรติ [harati] (หะระติ)) เทวดา (บาลี:เทวะตา [devatā]) วัสดุ และ วัตถุ (สันส: [vastu] (วัสตุ); บาลี: [vatthu] (วัตถุ)) กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ)) เสียง บ มักแผลงมาจาก ป กบิลพัสดุ์ (กะ-บิน-ละ-พัด) (สันส: [kapilavastu] (กปิลวัสตุ); บาลี: [kapilavatthu] (กปิลวัตถุ)) บุพเพ และ บูรพ (บาลี: [pubba] (ปุพพ)) “‘ดูเพิ่ม”‘ อักษรไทย ไตรยางศ์ คำราชาศัพท์ คำที่มักเขียนผิด ภาษาในประเทศไทย วันภาษาไทยแห่งชาติ ภาษาวิบัติ

คอการเมือง

ประเด็นการสนทนา

ท่ามกลางสถานการณ์ความขัดแย้งในสังคมไทยปัจจุบันนี้ ไม่ว่าจะเป็นปัญหาความขัดแย้งทางอุดมการณ์ทางการเมือง ปัญหายาเสพติด ปัญหาการแย่งชิงการจัดการทรัพยากร หรือความขัดแย้งในพื้นที่สามจังหวัดภาคใต้ บ่อยครั้งได้ขยายไปสู่การใช้ความรุนแรงซึ่งส่งผลกระทบแก่เด็กและเยาวชน นอกจากนี้ กระแสบริโภคนิยมและอุดมการณ์ตลาดเสรีได้สร้างความเปลี่ยนแปลงให้สังคมไทยในหลายๆด้าน ไม่ว่าจะเป็นทางการเมือง เศรษฐกิจ และสังคม กลุ่มเยาวชนก็เป็นตัวอย่างหนึ่งของผู้ที่ต้องปรับตัวให้ขับเคลื่อนไปได้กับกระแสการเปลี่ยนแปลงเหล่านั้น แต่ทว่าประเด็นด้านสังคมการเมืองมักถูกมองเป็นเรื่องไกลตัว และเป็นเรื่องของผู้ใหญ่ ทำให้เยาวชนจำนวนมากซึ่งมีความสนใจและมีความตื่นตัวทางการเมืองขาดพื้นที่และโอกาสในการแสดงบทบาท หรือมีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจในประเด็นปัญหาหรือนโยบายที่ส่งผลกระทบต่อตัวเขาและชุมชน

เวทีสิทธิ…วิวาทะในครั้งนี้จึงเปิดโอกาสให้เด็กและเยาวชนในหลากหลายพื้นที่ ได้แสดงทรรศนะและมุมมองของพวกเขาที่มีต่อการเมืองไทย นโยบายของรัฐบาล และสถานการณ์รอบตัว

ประเด็นสนทนา

  • คิดว่าการเมืองเกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวันของเราอย่างไรบ้าง
    – มีประเด็นสังคมหรือการเมืองใดที่สนใจเป็นพิเศษบ้าง
  • ช่วยแสดงความคิดเห็นต่อนโยบายของรัฐบาลชุดปัจจุบัน เช่น
    – มีนโยบายใดที่เห็นด้วย หรือ เห็นขัดแย้งบ้าง นโยบายนั้นเป็นตัวสนับสนุนหรือเป็นอุปสรรคต่อประเด็นทางสังคมที่ท่านสนใจหรือไม่
    – คิดอย่างไรกับ “นโยบายประชานิยม” กับโครงการ “ไทยสามัคคี ไทยเข้มแข็ง” ช่วยยกตัวอย่าง อธิบายผลได้ผลเสียกับสังคมไทย เช่น ร้องเพลงชาติไทย 76 จังหวัดช่วยสร้างสมานฉันท์จริงหรือ
  • คิดอย่างไรกับ “ระบอบประชาธิปไตยแบบไทย”
ผู้เข้าร่วมรายการ นายลีโอ เจ๊ะกือลี ผู้ประสานงานเครือข่ายบัณฑิตอาสาพัฒนาชนบทจังหวัดชายแดนภาคใต้
นายวันเฉลิม ศรีกุตา เยาวชน โรงเรียนอนุกูลนารี จังหวัดกาฬสินธุ์
นายอุทัย อารยาสรรค์สร้าง เยาวชนเครือข่ายกลุ่มเกษตรกรภาคเหนือ
นางสาวสุลักษณ์ หลำอุบล สมาชิกสหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย
นางสาวณัศพร วังแก้ว ตัวแทนนักศึกษาวิทยาลัยนวัตกรรมสังคม มหาวิทยาลัยรังสิต

เกี่ยวกับผู้จัดทำ

นายวินัย     คุณศักดิ์

วิชา  ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร

โรงเรียนธรรมบวรวิทยา

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษา เขต23

 

กลอน

 

Glitter

ใบไม้ยังเปลี่ยนสี

นาทียังเปลี่ยนไป

คนรักยังนอกจัย

แล้วอารัยจะแน่นอน
อ่านต่อ…


ขอขอบคุณ กลอนอกหัก จาก : http:// http://www.hotmail.com
โดยคุณ –

 

Glitter

ก็แค่เจ็บทุกที..แล้วก็มีน้ำตา

ไม่มีไม่มีแล้ว…คนเคยรักไม่มีแล้วคนประจักต์ซึ่งรักฉันไม่มีแล้วคนซึ่งเคยรักกันไมมีแล้วความผูกพันฉันและเธอนับจากวันนี้มีแต่คำว่าจบสิ่งที่เราเคยคบจบวันนี้ฉากสุดท้ายของความรักที่เรามีก็แค่เจ็บทุกที…แล้วก็มีน้ำตา
อ่านต่อ…
ขอขอบคุณ กลอนอกหัก โดยคุณ เจนนี่

 

Glitter

ที่รักจากลา

กลอนรักมีมากมาย
กลอนทั้งหลายนั้นสมหวัง
ฝังเเล้วอุ่นใจจัง
เเต่กลอนฉันนั้นทุกข์ใจ
 
รักเธอมาเนิ้นนาน
สุดวันวานยังจำได้
วันนี้เธอเปลี่ยนไป
เหมือนในใจเธอเปลี่ยนเเปลง
 
ที่รักเธอจากไป
วันอ่อนไหวที่ไร้เเสง
รักเธอดั่งเกลือเเกง
เเต่เธอเเสร้งหลอกลวงกัน
 
วันนี้คงอกหัก
เธอไม่รักชั่งหัวมัน
ปวดใจเรื่องของฉัน
ไม่ได้ฝันเรื่องเธอลา
 
กระดาษเเห่งความหลัง
เขียนคำรักที่ผ่านมา
จะเพิ่มคำจากลา
ฉีกวาจาที่ฝังใจ
 
-เงาของเทพพระเจ้า-

 
อ่านต่อ…


ขอขอบคุณ กลอนอกหัก โดยคุณ เงาของเทพพระเจ้า

 

Glitter

แกล้งถาม

wilted_rose.pngมันเจ็บทื่ต้องแกล้ง    ก็ทั้งที่รู้คำตอบยิ่งเทอเงียบเฉยอย่างนั้น ใจฉันยิ่งเจ็บมากกว่า   โกหกออกมาสักคำดีกว่ามาทำเฉยๆชาๆ หรือว่านี่คีอการบอกลา โดยใช้ความเงียบนั้นแทนคำตอบ
อ่านต่อ…
ขอขอบคุณ กลอนอกหัก โดยคุณ ครู

 

Glitter

รัก

ใบไม้ยังเปลี่ยนสีนาทียังเปลี่ยนไปคนรักยังนอกใจแล้วอะไรจะแน่นอน
อ่านต่อ…
ขอขอบคุณ กลอนอกหัก โดยคุณ sarawut

 

 

love.pngคำว่ารักมันอยากฟังดูง่าย แต่เราไม่มีทางรู้ได้ว่าเค้ารักเราจริงรึเปล่าlove.png
อ่านต่อ…

 

Glitter

ระหว่างฉันกับเขาเธอเลือกใคร

ระหว่างฉันกับเขาเธอเลือกใคร        โปรดเลือกไว้ที่ใจเธอสักคนถ้าไม่เลือกได้โปรดอย่าร่ายกล         ให้ฉันหล่นตกหลุมรักเธอทั้งใจ
อ่านต่อ…

 

Glitter

ระหว่างฉันกับเขาเธอเลือกใคร

ระหว่างฉันกับเขาเธอเลือกใคร        โปรดเลือกไว้ที่ใจเธอสักคนถ้าไม่เลือกได้โปรดอย่าร่ายกล         ให้ฉันหล่นตกหลุมรักเธอทั้งใจ
อ่านต่อ…

 

เธอรู้ไหม

แอบน้อยใจตอนเธอสนิทเขา เศร้าอยู่นี่เธอเคยรู้บ้างไหม ดูไม่ออกมองไม่เห็นอยู่ในใจ เธอรู้ไหมฉันร้องไห้แทบทุกวัน 
อ่านต่อ…

 

เธอรู้ไหม

แอบน้อยใจตอนเธอสนิทเขา เศร้าอยู่นี่เธอเคยรู้บ้างไหม ดูไม่ออกมองไม่เห็นอยู่ในใจ เธอรู้ไหมฉันร้องไห้แทบทุกวัน 
อ่านต่อ…